วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2558



บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 22 กันยายน 2558

Knowledge 




นำเสนองานวิจัย


นางสาววราภรณ์ แทนคำ  
เรื่อง การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


ชื่อผู้วิจัย : จุฑามาศ เรือนกำ 

         สร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์โดยการวิเคราะห์และเลือกหน่วยการเรียนรู้จำนวน 5 หน่วย ที่ใกล้ตัวเด็กและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน คือ หน่วยสัตว์เลี้ยงแสนดี ผลไม้น่าทาน ต้นไม้เพื่อนรัก ดอกไม้แสนสวยและวิทยาศาสตร์น่ารู้  และนำมาสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การสังเกต จำแนกประเภท การวัดและการหามิติสัมพันธ์ 



นางสาวรัตนาภรณ์ คงกะพันธ์   
เรื่อง  การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์


 ชื่อผู้วิจัย : เสกสรร มาตวังแสง 


          ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ซึ่งทําการศึกษากับกลุมตัวอยางที่เปนเด็กปฐมวัย โดยผูวิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยาง1 สัปดาหกอนการทดลอง จากนั้นนทําการทดสอบเพื่อวัดการคิดวิจารณญาณกอนการทดลอง(Pre-test) โดยใชแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยสรางขึ้น กับกลุมตัวอยางและดําเนินการทดลองดวยตนเอง 
จํานวน 8 สัปดาหเมื่ออดําเนินการทดลองครบ 8 สัปดาหนําแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้ง และนําขอมูลทที่ไดจากการทดสอบไปทําการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทำสถิต

นางสาวยุภา ธรรมโครต 
เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของ
 ชื่อผู้วิจัย :ยุพาภรณ์ ชูสาย

           จะจัดกิจกรรมแบบเป็นการทดลองเปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรมด้วยตนเอง เป้นการให้อิสระแก่เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งครูคอยแนะนำและช่วยเหลือให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ด้วยการทดลอง เรื่องสีจากธรรมชาติ จะสอนในเรื่อง การสังเกต การจำแนก และการหามิติสัมพันธ์


ของเล่นวิทยาศาสตร์
ชื่อ : เรือหนังยาง




อุปกรณ์




-สก็อตเทป -ไม้ตะเกียบ -หนังสติ๊ก-การ์ด-กล่องนม-กรรไกร-กะละมัง


ขั้นตอนการทำ



1.เอากล่องมาแล้วเอาไม้ตะเกียบติดเข้าไปทั้ง 2 ข้าง          


            
         2. เอาสก็อตเทปมาพันไว้ พันให้แน่



      3.เอาหนังสติ๊กใส่การ์ดแล้วเอาสก็อตเทปพันไว                  



                         
    4.ได้การ์ดดังรูป
               
                        
5. เอาการ์ดมาใส่ต่อกับตัวเรือ 


                                       

 6. เปิดน้ำใส่กะละมังให้พอประมาณ




7. นำตัวเรือมาทดลอง

วิธีการเล่น
- หมุนการ์ดให้พอตามความต้องการของเรา แล้วก็ปล่อยตัวเรือไปข้างหน้า

ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์

- พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในสปิงหรือวัตถุยืดหยุ่นอื่นๆ ขณะที่วัตถุยืดตัวหมุน โดยตัวเรือและการ์ดจะทำปฎิกิริยากับน้ำแล้วเคลื่อนที่ไปข้างหน้า

skills
- การใช้ความคิด คิดตามเพื่อให้เห็นภาพงานวิจัยที่เพื่อนพูด
- การใช้คำถามเพื่อที่เราจะได้เข้าใจในวิจัยที่เพื่อนนำเสนอ
- การนำเสนอสื่อด้วยคำพูดและวิธีการที่หลากหลายที่จะสื่อออกมาให้ฟังได้อย่างเข้าใจ

Appiy

                     - สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่เพื่อนๆนำมาเสนอไปใช้ในการสอนเด็ก
                          -เกี่ยวกับทักษะกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ในอนาคตได้
                                               - สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่เราทำไปประยุกต์ใช้หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับหน่วยต่างๆทางวิทยาศาสตร์

Teaching Techniques


- ให้นักศึกษามีความคิดที่หลากหลาย คิดนอกกรอบ

- รู้จักการนำเสนอสื่อของเล่นให้น่าสนใจเเละน่าเรียนรู้

- การใช้คำถามเพื่อโยงเข้าสู่หลกวิทยาศาสตร์


-ระดมความคิดกับเพื่อนในห้องเรียน



Assessment 
  Self   -  แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน มีความรับผิดชอบ
Friends  - แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนสาย ร่วมกันสังเคราะห์ - วิเคราะห์ สื่อ/ของเล่นที่เกี่ยวกับ                       วิทยาศาสตร์ที่เพื่อนๆนำมานำเสนอทุกคนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในห้องเรียน

Teacher - แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเข้าสอนตรงเวลา สอนเข้าใจง่าย นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนคอยเพิ่มเติมเกร็ดความรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ระหว่างนำเสนอ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น