วันอังคารที่ 18 สิงหาคม 2558
บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2
knowledge
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
พัฒนาการ
การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ในทางที่พึงปรารถนาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ ทางสังคม และทางสติปัญญา ซึ่งจะเกิดติดต่อกันไปเรื่อย ๆ จากระยะหนึ่งไปสู่อีกระยะหนึ่ง
วิทยาสาตร์
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนวิทยาสาสตร์
ทักษะทางวิทยาสาสตร์ มี 13 ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต (Observation)
2.ทักษะการวัด (Measurement) 3.ทักษะการจำแนกประเภท (Classification) 4.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (Spacs / Spacs Reation and Space /Time Relation)
5.ทักษะการคำนวน (Using Number)
6.ทักษะการจัดทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication)
7.ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล (Inferring)
8.ทักษะการพยากรณ์ (Prediction)
9.ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis) 10.ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operation) 11.ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)
12.ทักษะการทดลอง (Experiment)
13.ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interperting Data and Making)
การจัดประสบการณ์ --->ใช้วิธีการสอนแบบบูรณาการ โดยผ่านกิจกรรม
หลักเกณฑ์
-สิ่งใกล้ตัว
-สิ่งที่เด็กสนใจ และเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก
-สิ่งที่มีผลกระทบ
เครื่องมือในการเรียนรู้
-ภาษา
-คณิตศาสตร์
ความเจริญงอกงามด้านความสามารถ ทางภาษา และการคิดของแต่ละบุคคล
พัมนาขึ้นมาจากการมีปฎิสัมพันธ์ (inteaction) กับสิ่งแวดล้อม
-เริ่มตั้งแต่แรกเกิด
-การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป้นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (equilibrium)
-การปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
- วิเคราะห์คำถามจากอาจารย์ผู้สอน
- วิคราะห์คำถามร่วมกับเพื่อน
- การแสดงความคิดเห็น
- การนำความรู้ที่ได้รับรวมทั้งวิธีการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป
5.ทักษะการคำนวน (Using Number)
6.ทักษะการจัดทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication)
7.ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล (Inferring)
8.ทักษะการพยากรณ์ (Prediction)
9.ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis) 10.ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operation) 11.ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)
12.ทักษะการทดลอง (Experiment)
13.ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interperting Data and Making)
การจัดประสบการณ์ --->ใช้วิธีการสอนแบบบูรณาการ โดยผ่านกิจกรรม
หลักเกณฑ์
-สิ่งใกล้ตัว
-สิ่งที่เด็กสนใจ และเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก
-สิ่งที่มีผลกระทบ
เครื่องมือในการเรียนรู้
-ภาษา
-คณิตศาสตร์
พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive development)
เพียเจย์ความเจริญงอกงามด้านความสามารถ ทางภาษา และการคิดของแต่ละบุคคล
พัมนาขึ้นมาจากการมีปฎิสัมพันธ์ (inteaction) กับสิ่งแวดล้อม
-เริ่มตั้งแต่แรกเกิด
-การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป้นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (equilibrium)
-การปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจท์
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี
4.ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี
Skills
- วิเคราะห์คำถามจากอาจารย์ผู้สอน
- วิคราะห์คำถามร่วมกับเพื่อน
- การแสดงความคิดเห็น
Apply
- การนำความรู้ที่ได้รับรวมทั้งวิธีการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป
Teachniques Techniques
- ถาม-ตอบ ให้ผู้เรียนได้ตอบคำถามเพื่อให้ได้คำตอบที่มีความสมบูรณ์
เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
Assessment
Self -เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย พูดจาสุภาพ ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
Friends -เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
Teacher -เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีคำแนะนำและให้คำปรึกษาในเรื่องที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น