วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 25 สิงหาคม 2558

Knowledge

- เนื้อหาจากที่เราได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือของห้องสมุด เกี่ยวกับเรื่อง แม่เหล็ก

Skills

- การทำงานกุลุ่ม
- การระดมความคิด
- การวิเคราะห์และสรุปความคิด
- การเรียนรู้ด้วยตนเอง
- การสืบค้นข้อมูล

Apply

- จากการได้รับความรู้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในว่า การสอนวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กนั้นว่าเราควรจัดการศึกษาอย่างไรจะจัดอย่างไรจึงจะให้ความสำคัญกับเด็ก และควรพัฒนาสติปัญญาของเด็กด้านวิทยาศาสตร์อย่างไร

Teaching Techniques


- การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง ด้วยการอ่านเรื่องของตัวเองเเละสรุปเป็นความรู้ของตัวเราเอง

Assessment
Teacherอาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ มีเทคนิคการสอนที่ทำให้นักศึกษาเข้าใจ                     ง่ายและเกิดการคิดรวบยอด
Friendsแต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา เพื่อนๆช่วยกันระดมความคิดเเละพยายามช่วยกันรวบรวม                  คำพูดเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์
Seleเข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสะอาดเรียบร้อย  มีความพร้อมในการเรียน 
classroomห้องเรียนสะอาด เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา      เเต่มีปัญหาเรื่องอินเทอร์เน็ตที่ไม่สามารถเชื่อมใช้ได้

วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558


สรุปบทความ

บทความเรื่อง :โครงการผลิตสื่อวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สร้างโดย: ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหกหลังนอก


       ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหกหลังนอกมีจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านให้เหมาะสมตามวัย วิทยาศาสตร์เป็นการจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวโดยอาศัยทักษะหลายด้าน เช่น การสังเกต การค้นคว้า และการทดลอง หรือเรียกว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีความสำคัญกับเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก ครูผู้ดูแลเด็กจึงเห็นความสำคัญในการผลิตสื่อวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านให้กับเด็ก กิจกรรมการผลิตสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ
1.กิจกรรมขวดแสนสนุก
2. กิจกรรมโทรศัพท์จ๊ะจ๋า
ประโยชน์ 1.เด็กได้ยินเสียงของเพื่อนมาตามเส้นเชือก 2.เด็กเกิดการเรียนรู้การเดินทางของเสียงว่าได้ยินชัดเมื่อเชือกตึง 3.เด็กสนุกสนานจากการเล่นโทศัพท์จ๊ะจ๋า

วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม 2558
บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2

 knowledge

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

พัฒนาการ 

         การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ในทางที่พึงปรารถนาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ ทางสังคม  และทางสติปัญญา ซึ่งจะเกิดติดต่อกันไปเรื่อย ๆ จากระยะหนึ่งไปสู่อีกระยะหนึ่ง

วิทยาสาตร์

        ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนวิทยาสาสตร์

ทักษะทางวิทยาสาสตร์ มี 13 ทักษะ

1.ทักษะการสังเกต (Observation) 
2.ทักษะการวัด (Measurement) 3.ทักษะการจำแนกประเภท (Classification) 4.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (Spacs / Spacs Reation and Space /Time Relation)
5.ทักษะการคำนวน (Using Number)
6.ทักษะการจัดทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication)
 7.ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล (Inferring)
8.ทักษะการพยากรณ์ (Prediction)
 9.ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis) 10.ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operation)  11.ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)
12.ทักษะการทดลอง (Experiment)
13.ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interperting Data and Making)

การจัดประสบการณ์ --->ใช้วิธีการสอนแบบบูรณาการ โดยผ่านกิจกรรม

หลักเกณฑ์
-สิ่งใกล้ตัว
-สิ่งที่เด็กสนใจ และเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก
-สิ่งที่มีผลกระทบ

เครื่องมือในการเรียนรู้
-ภาษา
-คณิตศาสตร์

พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive development)
เพียเจย์
       ความเจริญงอกงามด้านความสามารถ ทางภาษา และการคิดของแต่ละบุคคล
พัมนาขึ้นมาจากการมีปฎิสัมพันธ์ (inteaction) กับสิ่งแวดล้อม
-เริ่มตั้งแต่แรกเกิด
-การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป้นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (equilibrium)
-การปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม



ทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจท์

1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี 

4.ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี



Skills

- วิเคราะห์คำถามจากอาจารย์ผู้สอน
- วิคราะห์คำถามร่วมกับเพื่อน
- การแสดงความคิดเห็น


Apply


- การนำความรู้ที่ได้รับรวมทั้งวิธีการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป 

Teachniques Techniques

- ถาม-ตอบ ให้ผู้เรียนได้ตอบคำถามเพื่อให้ได้คำตอบที่มีความสมบูรณ์ 
เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน 


Assessment

Self -เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย  พูดจาสุภาพ ตั้งใจฟังอาจารย์สอน  
Friends 
-เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายสุภาพ มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม

Teacher -เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีคำแนะนำและให้คำปรึกษาในเรื่องที่นักศึกษาไม่เข้าใจ

วันอังคารที่ 11 สิงหาคม 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1

Knowledge

1.อาจารย์ชี้แจงแนวปฎิบัติตามแนวการสอน
2.อาจารยืและนักศึกาาร่วมอ๓อปรายและแสดงความคิดเห้นต่อแนวทางในการปฎิบัติตามแนวการสอน ข้อตกลงในการเรียนการสอน

Skills

- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
- วิทยาสาสตร์ scicnce
- คณิตสาสตร์ mathematics
- สติปัญญา  intelligence

Apply

- การนำความรู้ที่ได้รับรวมทั้งวิธีการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป

Teaching Techniques

1.การบรรยาย
2.การใช้คำถาม
3. การระดมความคิด

Assessment

Self : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
Friends : เข้าเรียนตรงเวลา และ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
Teacher : เข้าสอนตรงเวลา แต่งการสุภาพเรียบร้อย อธิบายเนื้อหาได้ชัดเจน